บทความการตอกเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ Spun Micro Pile ไมโครไพล์ Micropile และเสาเข็มไอไมโครไพล์ หรือเข็มไอ I-Micropile เสาเข็มเพื่อการต่อเติม เสริมฐานราก และงานสร้างใหม่ ได้รับการรับรองระบบบริหารงานคุณภาพ ตามมาตรฐาน ISO 9001:2015 ภายใต้การรับรองระบบงานของ UKAS และ NAC และมาตรฐาน ISO 45001:2018 การจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย การให้บริการตอกเสาเข็ม (The Provision of Pile Driving Service)

ต่อเติมบ้าน ด้วย เสาเข็มไอไมโครไพล์ I Micropile และเสาเข็มสปัน ไมโครไพล์ Spunmicropile ภูมิสยาม

ต่อเติมบ้าน ด้วย เสาเข็มไอไมโครไพล์ I Micropile และเสาเข็มสปัน ไมโครไพล์ Spunmicropile ภูมิสยาม ต่อเติมบ้าน หากตอกเสาเข็มไม่ลึกพอ(ไม่ถึงชั้นดินดาน) อาจพบกับปัญหาการแตกร้าวของผนัง หรืออาจเกิดการทรุดตัวของส่วนที่ต่อเติม จนต้องทุบทิ้ง และการต่อเติมบ้าน ต้องคำนึงถึงแรงสั่นสะเทือนในการตอก เพราะแรงสั่นสะเทือนจากการตอกเสาเข็มสามารถส่งผลต่อโครงสร้างเดิม หรือส่งผลกระทบต่อโครงสร้างบ้านใกล้เคียงได้ และอาจทำให้เกิดปัญหาในภายหลัง ดังนั้นควรเลือกตอกเสาเข็มที่มีแรงสั่นสะเทือนน้อย … Read More

เสาเข็มไอไมโครไพล์ คืออะไร? ทำไมถึงเป็นที่นิยมในงานต่อเติม และหากมีพื้นที่จำกัด สามารถเข้าทำงานได้หรือไม่?

เสาเข็มไอไมโครไพล์ คืออะไร? ทำไมถึงเป็นที่นิยมในงานต่อเติม และหากมีพื้นที่จำกัด สามารถเข้าทำงานได้หรือไม่? เสาเข็มไอไมโครไพล์ เป็นเสาเข็มที่ถูกออกแบบมาให้มีความยาวเพียง 1.5 เมตร เหมาะสำหรับงานต่อเติมในพื้นที่จำกัด เพื่อให้สามารถขนย้ายเข้าหน้างานได้อย่างสะดวก และปั่นจั่นที่ใช้ตอกเสาเข็มชนิดนี้ ก็ถูกออกแบบมาเป็นพิเศษ เพื่อง่ายต่อการเคลื่อนย้ายเข้าหน้างานเช่นเดียวกัน และข้อดีของเสาเข็มไอไมโครไพล์ คือสามารถสามารถตอกชิดกำแพงได้ 50 ซม. จากเซ็นเตอร์เสาเข็ม ไม่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่โครงสร้างเดิม … Read More

“เสาเข็ม” เรื่องควรรู้ก่อนต่อเติมบ้าน เพราะบ้านจะทรุดตัวหรือไม่ ขึ้นอยู่กับเสาเข็ม

“เสาเข็ม” เรื่องควรรู้ก่อนต่อเติมบ้าน เพราะบ้านจะทรุดตัวหรือไม่ ขึ้นอยู่กับเสาเข็ม เสาเข็ม (Pile) คือ สิ่งสำคัญที่สุดสำหรับการต่อเติมบ้าน เพราะทำหน้าที่ในการรับน้ำหนักของส่วนต่อเติมไม่ให้เกิดการแตกหรือแยกออกจากตัวบ้าน เพราะการต่อเติมเป็นการฝากโครงสร้างไว้กับตัวบ้าน หากไม่มีการลงเสาเข็มในส่วนที่ต่อเติมด้วย อาจทำให้ส่วนที่ต่อเติมเกิดการทรุดตัวเพราะไม่มีเสาเข็มคอยทำหน้าที่ในการรับน้ำหนัก และทำให้เกิดการดึงรั้งกับตัวบ้านเดิม ทำให้โครงสร้างแตกและแยกออกจากกันก่อให้เกิดความเสียหาย และการตอกเสาเข็ม จะต้องเลือกเสาเข็มที่เหมาะสมกับหน้างาน เพื่อความแข็งแรงมั่นคง และรับน้ำหนักได้ดี และที่สำคัญจะต้องตอกเสาเข็มให้ได้ความลึกตามรายการคำนวณที่วิศวกรออกแบบที่ถูกต้องตามหลักวิศวกรรม และเพื่อเป็นการตอบโจทย์การต่อเติมบ้านที่ดีที่สุด … Read More

เสาเข็มสปันไมโครไพล์แท้ (Spun Micropile)โดยภูมิสยาม!!

posted in: PILE DRIVING

เสาเข็มสปันไมโครไพล์ เสาเข็มเพื่อการต่อเติม หรือสร้างใหม่ ต่อเติมโรงงานที่ต้องการมาตรฐานสูงโดยภูมิสยาม ทำไมต้องเสาเข็มภูมิสยามเพราะเราเป็นเจ้าแรกในประเทศไทย“ที่ได้รับ”มาตรฐาน มอก. 397-2562 ภูมิสยามผู้ผลิตและจัดจำหน่าย เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micro Pile เจ้าแรกที่ได้รับมาตรฐาน มอก. 397-2562 (พัฒนาจาก มอก. เดิม 397-2524) และไอไมโครไพล์ … Read More

การทดสอบเสาเข็ม

การทดสอบเสาเข็ม ประเภทของการทดสอบเสาเข็มสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 วิธีการหลักๆ คือ 1. การทดสอบความสมบูรณ์ของเสาเข็ม (PILE INTEGRITY TEST) โดยวิธี SEISMIC TEST ซึ่งข้อจำกัดของการทดสอบโดยวิธีนี้ คือ ใช้ได้เฉพาะกับ เสาเข็มเจาะ หรือ เสาเข็มตอกที่มีจำนวนท่อนเพียง 1 … Read More

ภูมิสยาม ผู้ผลิตรายแรกและรายเดียวในไทย ที่ได้รับการรับรอง คุณภาพ Endoresed Brand จาก SCG – ข่าวกรุงเทพธุรกิจ

posted in: Bhumisiam News

ผู้ผลิตรายแรกและรายเดียวในไทย ที่ได้รับการรับรอง คุณภาพ Endoresed Brand จาก SCG ด้านการผลิตเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ นายรัฐโรจน์ ภูริหิรัญพิพัฒ กรรมการผู้จัดการบริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด ผู้ผลิตและจัดจำหน่าย พร้อมบริการตอกเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ เทคโนโลยีการผลิตจากประเทศไทยเยอรมัน ให้การต้อนรับ … Read More

ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง MatrixAnalysisOfStructure

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ เมื่อประมาณ 2 ถึง 3 สัปดาห์ก่อนหน้านี้มีรุ่นน้องวิศวกรท่านหนึ่งได้แจ้งกับผมมาว่า เค้าอยากจะให้ผมอธิบายถึงเรื่องหลักการของ FINITE ELEMENT ANALYSIS หรือที่เรานิยมเรียกกันสั้นๆ ว่า FEA … Read More

ความรู้ในเบื้องต้นเกี่ยวกับ โครงสร้างป้องกันไม่ให้ดินพัง หรือ SOIL RETAINING STRUCTURTES

ความรู้ในเบื้องต้นเกี่ยวกับ โครงสร้างป้องกันไม่ให้ดินพัง หรือ SOIL RETAINING STRUCTURTES จุดประสงค์ของการก่อสร้างโครงสร้างป้องกันไม่ให้ดินพัง คือ การป้องกันการเคลื่อนตัวของมวลดิน ไม่ให้ดินเกิดการเคลื่อนที่เข้ามาสู่ตัวโครงสร้างจนโครงสร้างเกิดการวิบัติขึ้น ทั้งนี้การประยุกต์ใช้โครงสร้างป้องกันไม่ให้ดินพังในทางวิศวกรรรม เช่น งานดินถม งานดินขุด งานสะพาน งานโครงสร้างเพื่อป้องมิให้น้ำท่วม เป็นต้น ซึ่งโดยส่วนมากแล้วโครงสร้างป้องกันไม่ให้ดินพังนั้นมักที่จะก่อสร้างขึ้นในรูปแบบของกำแพงหรือ WALL ที่จะทำหน้าที่ในการกันดิน … Read More

การทดสอบเพื่อหาความยาวของโครงสร้างเสาเข็มโดยวิธีการทดสอบทางอ้อม วิธีการที่จะมีความนิยมนำมาใช้ก็คือ PARALLEL SEISMIC TEST

การทดสอบเพื่อหาความยาวของโครงสร้างเสาเข็มโดยวิธีการทดสอบทางอ้อม วิธีการที่จะมีความนิยมนำมาใช้ก็คือ PARALLEL SEISMIC TEST ซึ่งการทดสอบหาค่าขนาดความยาวของโครงสร้างเสาเข็มโดยวิธี PARALLEL SEISMIC TEST นั้นจะต้องเริ่มต้นจากการที่เราจะต้องมีข้อมูลหรือหากไม่มีข้อมูลใดๆเลย ต้องทำการคาดเดาก่อนว่าเสาเข็มต้นที่เราต้องการจะทำการทดสอบนั้นจะมีความลึกประมาณเท่าใด หลังจากนั้นก็ให้ทำการสร้างหลุมเจาะขึ้นมาโดยให้อยู่ภายในรัศมีไม่เกินประมาณ 1500 มม. จากตำแหน่งของโครงสร้างเสาเข็มที่เราต้องการที่จะทำการทดสอบ ต่อมาเราจะอาศัยการส่งถ่ายสัญญาณในลักษณะคลื่นลงไป ซึ่งเราจะค่อยๆ ทำการส่งผ่านให้คลื่นดังกล่าวนั้นเดินทางลงไปในโครงสร้างฐานรากและโครงสร้างเสาเข็มโดยที่เรามักจะใช้อุปกรณ์จำพวกค้อนกระแทกให้ทำหน้าที่เป็นตัวออกแรงกระแทกเพื่อที่จะได้ส่งสัญญาณคลื่นนี้ลงไป (โดยที่มีข้อแม้อยู่นิดหนึ่งว่า ด้านบนของโครงสร้างฐานรากหรือโครงสร้างเสาตอม่อนั้นจะต้องมีความต่อเนื่องกันกับโครงสร้างเสาเข็ม) … Read More

“ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” การทดสอบความสมบูรณ์ของโครงสร้างเสาเข็ม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ ตามที่ผมได้รับปากกับเพื่อนๆ เอาไว้ในสัปดาห์ที่แล้วว่าในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาขยายความและทำการพูดถึงข้อดีและข้อด้อยของการเลือกทำการทดสอบโครงสร้างเสาเข็มด้วยวิธีการใส่แรงกระแทกเข้าไปที่ส่วนบนของโครงสร้างเสาเข็ม ซึ่งโพสต์ๆ นี้ก็จะมีความต่อเนื่องมาจากโพสต์ของผมเมื่อในสัปดาห์ก่อนหน้านี้นะครับ สำหรับข้อดีหลักๆ ก็อย่างเช่น เนื่องจากเครื่องมือที่ใช้ในการทดสอบโครงสร้างเสาเข็มของเรานั้นมีขนาดค่อนข้างที่จะเล็กมากๆ ดังนั้นจึงทำให้บุคคลเพียงเดียวก็สามารถที่จะทำการทดสอบโครงสร้างเสาเข็มได้มากถึง 100 ต้นต่อวันเลยและสืบเนื่องจากเหตุผลข้อนี้เองจึงทำให้การทดสอบโครงสร้างเสาเข็มนั้นจะไม่เป็นการทำให้เกิดการกีดขวางการทำงานอื่นๆ … Read More

1 5 6 7 8 9 10 11 19