บทความการตอกเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ Spun Micro Pile ไมโครไพล์ Micropile และเสาเข็มไอไมโครไพล์ หรือเข็มไอ I-Micropile เสาเข็มเพื่อการต่อเติม เสริมฐานราก และงานสร้างใหม่ ได้รับการรับรองระบบบริหารงานคุณภาพ ตามมาตรฐาน ISO 9001:2015 ภายใต้การรับรองระบบงานของ UKAS และ NAC และมาตรฐาน ISO 45001:2018 การจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย การให้บริการตอกเสาเข็ม (The Provision of Pile Driving Service)

ต่อเติมบ้าน ด้วยเสาเข็ม ไอไมโครไพล์ I-Micropile เสาเข็มเพื่อการต่อเติม

ต่อเติมบ้าน ด้วยเสาเข็ม ไอไมโครไพล์ I-Micropile เสาเข็มเพื่อการต่อเติม การต่อเติมบ้าน ถือเป็นเรื่องที่ควรใส่ใจเป็นพิเศษ เพราะบ้านเป็นที่อยู่อาศัยที่จะอยู่กับเราไปอีกนาน ภูมิสยามเราขอแนะนำ เสาเข็มไอไมโครไพล์ เป็นเสาเข็มที่มีลักษณะรูปตัวไอ นิยมใช้ในงานต่อเติมบ้าน ทำหน้าที่ในการรองรับน้ำหนักของสิ่งปลูกสร้าง และส่วนต่อเติมเพื่อถ่ายเทลงสู่ชั้นดิน ทำให้เกิดการกระจายน้ำหนักที่เท่ากัน เพื่อป้องกันการทรุดตัวของส่วนต่อเติมที่อาจจะไปดึงรั้งตัวโครงสร้างบ้านเดิมทำให้เกิดความเสียหายได้ และภูมิสยามเรามีวิศวกรผู้เชี่ยวชาญ ที่คอยให้คำปรึกษา ตลอดจนทีมช่างที่มีประสบการณ์พร้อมให้บริการโดยปฏิบัติงานตามทุกขั้นตอนให้ได้มาตรฐานและความมั่นคงแข็งแรงสูงสุด อีกทั้งเสาเข็มไอไมโครไพล์ … Read More

ตอกเสาเข็มเพื่อต่อเติมโรงงาน แนะนำใช้เสาเข็ม ไอ ไมโครไพล์ (I-MICROPILE)

posted in: PILE DRIVING

ตอกเสาเข็มเพื่อต่อเติมโรงงาน ใช้เสาเข็ม I-MICROPILE เสาเข็มคุณภาพโดยภูมิสยามสิคะ!! จะต่อเติมโรงงาน ขยายโรงงาน ต้องการงานคุณภาพ ฐานรากคุณภาพ เพื่อป้องกันการทรุดและได้มาตรฐานทางวิศวกรรม เสาเข็มสปันไมโครไพล์ และไอไมโครไพล์ เสาเข็มขนาดเล็ก แต่สามารถเสริมฐานรากอาคารโรงงานได้ เพื่อรองรับน้ำหนักเครื่องจักรขนาดใหญ่ โดยเสาเข็มสามารถเชื่อมต่อแต่ละท่อนได้โดยการเชื่อมด้วยไฟฟ้า และใชั้ปั้นจั่นแบบพิเศษในการตอก ทำให้สามารถตอกต่อกันได้ลึกถึงชั้นดินทรายแข็ง สามารถรองรับน้ำหนักได้อย่างปลอดภัยทดสอบการรับน้ำหนักโดยวิธี Dynamic Load … Read More

เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micropile อีกทางเลือกสำหรับงานต่อเติมบ้าน ตัวช่วยต่อเติมความแข็งแรง

เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micropile อีกทางเลือกสำหรับงานต่อเติมบ้าน ตัวช่วยต่อเติมความแข็งแรง เสาเข็มสปันไมโครไพล์ เป็นเสาเข็มที่ถูกออกแบบมาเพื่อการต่อเติมบ้านโดยเฉพาะ เพราะตอบโจทย์ในเรื่องของ แรงสั่นสะเทือนขณะตอกน้อย สามารถตอกชิดกำแพงได้ 50 ซ.ม. จากเซ็นเตอร์เสาเข็ม โดยไม่กระทบโครงสร้างเดิม และสามารถเข้าตอกในพื้นที่แคบหรือจำกัดได้ง่าย หน้างานสะอาด สะดวก และรวดเร็ว เมื่อติดตั้งแล้วเสร็จสามารถรับน้ำหนักได้ทันที ทั้งนี้เสาเข็มสปันไมโครไพล์ … Read More

เหล็กที่ถูกผลิตขึ้นด้วยกรรมวิธีของเหล็กโครงสร้างรูปพรรณขึ้นรูปเย็นหรือว่า COLED FORM STEEL

เหล็กที่ถูกผลิตขึ้นด้วยกรรมวิธีของเหล็กโครงสร้างรูปพรรณขึ้นรูปเย็นหรือว่า COLED FORM STEEL โดยที่เจ้าเหล็กโครงสร้างรูปพรรณขึ้นรูปเย็นนั้นก็จะประกอบไปด้วยหน้าตัดเหล็กทั้งหมด 5 แบบ โดยมีประเภทของเหล็กเพียง 1 ชั้นคุณภาพเท่านั้น ซึ่งก็คือเกรด SSC400 โดยวิธีในการตรวจสอบเบื้องต้นว่าเป็นเหล็กโครงสร้างรูปพรรณขึ้นรูปเย็นหรือไม่ วิธีในการตรวจสอบคือ 1. ตรวจสอบการแสดงเครื่องหมายและฉลากต่างๆ บนเหล็กโครงสร้างรูปพรรณขึ้นรูปเย็น มีความครบถ้วนหรือไม่ 2. ตรวจสอบตัวนูนที่แสดงชั้นคุณภาพ … Read More

ถาม-ตอบชวนสนุก การคำนวณหาค่าตัวคูณลดกำลังสำหรับกรณีของการที่ชิ้นส่วนต้องทำหน้าที่ในการรับแรงดัด

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ฝากคำถาม-เราจะมาตอบให้ ที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ ผมขอสมมติว่าผมกำลังทำการออกแบบโครงสร้าง คสล ซึ่งเป็นหน้าตัดที่ทำหน้าที่ในการรับแรงดัดหน้าตัดหนึ่งซึ่งก็จะมีรูปแบบของเหล็กเสริมตามขวางในหน้าตัดนั้นจะเป็นแบบทั่วๆ ไป โดยที่ผมจะทำการออกแบบโดยอ้างอิงไปที่มาตรฐานการออกแบบ ACI318-14 และเมื่อผมทำการจัดเหล็กเสริมเสร็จก็พบว่า ค่าหน่วยความเครียด … Read More

การประยุกต์ใช้ซอฟต์แวร์ทางไฟไนต์อีลีเม้นต์ในการวิเคราะห์และออกแบบโครงสร้าง และอาศัยวิธีหน่วยแรงที่ยอมให้หรือ ALLOWABLE STRESS DESIGN METHOD

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ก่อนที่ทุกอย่างจะพร้อมสำหรับการไลฟ์สดในทุกๆ วันจันทร์ผมเลยตั้งใจจะพูดถึงและแชร์ความรู้แก่เพื่อนๆ ในหัวข้อ “ประโยชน์ของการประยุกต์ใช้ซอฟต์แวร์ทางไฟไนต์อีลีเม้นต์ในการวิเคราะห์และออกแบบโครงสร้าง” ไปพลางๆ ก่อนนะครับ ซึ่งหัวข้อในวันนี้ก็คือ ตอนที่เราทำการออกแบบโครงสร้าง หากเราอาศัยวิธีหน่วยแรงที่ยอมให้หรือ ALLOWABLE STRESS DESIGN METHOD นอกจากเราจะต้องทำการควบคุมมิให้ค่าแรงเค้นใช้งานหรือ WORKING STRESS นั้นไม่ให้เกินค่าแรงเค้นที่ยอมให้หรือ ALLOWABLE … Read More

ต่อเติมโรงงาน เพื่อขยายโรงงาน เราขอแนะนำ เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun micropile และเสาเข็ม ไอไมโครไพล์ I Micropile ภูมิสยาม

ต่อเติมโรงงาน เพื่อขยายโรงงาน เราขอแนะนำ เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun micropile และเสาเข็ม ไอไมโครไพล์ I Micropile ภูมิสยาม จะต่อเติมโรงงาน จะต้องเลือกใช้เสาเข็มที่มีคุณภาพสูง ตอกเพื่อเสริมฐานราก ให้มีความมั่งคงแข็งแรง และจะต้องเลือกเสาเข็มประเภทที่เหมาะกับหน้างาน และการรับน้ำหนัก ต้องเป็นไปอย่างถูกต้องตามหลักวิศวกรรม โดยเสาเข็ม สามารถต้านทานน้ำหนักได้โดยมี … Read More

ตอกเสาเข็มเพื่อสร้างใหม่ แนะนำใช้เสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile)

posted in: PILE DRIVING

จะสร้างอาคารหลายชั้น เพื่อทำคอนโดขนาดใหญ่ หรือสร้างสำนักงานใหม่ ต้องการคุณภาพมาตรฐานทางวิศวกรรมสูง แนะนำเข็มสปันไมโครไพล์แท้ (Spun Micro Pile) โดยภูมิสยามค่ะ!! เสาเข็มเป็นสิ่งสำคัญ เพราะฐานรากดีเริ่มจากเสาเข็มที่รับน้ำหนักโครงสร้างทั้งหมด เพื่อป้องกันการทรุดตัวที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคต การเลือกใช้เสาเข็มคุณภาพ มีความสำคัญ เราขอแนะนำเสาเข็มสปันไมโครไพล์ โดยภูมิสยาม เป็นเสาเข็มที่เหมาะกับทุกงานก่อสร้าง ไม่ว่าจะต่อเติมหรือสร้างใหม่ เพราะเป็นเสาเข็มผลิตจากการสปัน มีความแข็งแกร่งสูง … Read More

เข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micro Pile และไอไมโครไพล์ I-Micropile ตอกเสริมฐานราก ป้องกันการทรุดตัวได้อย่างตรงจุด

เข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micro Pile และไอไมโครไพล์ I-Micropile ตอกเสริมฐานราก ป้องกันการทรุดตัวได้อย่างตรงจุด การตอกเสาเข็มเพื่อเสริมฐานราก ควรเลือกเสาเข็มที่มีคุณภาพ มีความแข็งแรงสูง ที่เหมาะกับหน้างาน เพื่อป้องกันการทรุดตัวได้อย่างตรงจุด การตอกเสาเข็มสปันไมโครไพล์ สามารถตอกต่อกันได้โดยการเชื่อมด้วยไฟฟ้า จากนั้นใช้ปั้นจั่นที่ถูกออกแบบมาเป็นพิเศษ ตอกเสาเข็มลงไปทีละท่อน จนได้ความลึก และ BLOW … Read More

เมื่อตอกเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็ก ลงไปในดิน จะมีปัญหาเรื่องการเกิดสนิมหรือไม่

เมื่อตอกเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็ก ลงไปในดิน จะมีปัญหาเรื่องการเกิดสนิมหรือไม่ สนิมเหล็ก คือสารประกอบระหว่างเหล็กกับออกซิเจน มีชื่อทางเคมีคือ ไฮเดรตเฟอริกออกไซด์ (Fe2O3.XH2O3) ลักษณะเป็นคราบสีแดง ซึ่งไม่สามารถเกาะอยู่บนผิวของเหล็กได้อย่างเหนียวแน่น สามารถหลุดออกไปได้ง่าย ทำให้เนื้อเหล็กที่อยู่ชั้นในสามารถเกิดสนิมต่อไปจนกระทั่งหมดทั้งชิ้น กระบวนการเกิดสนิมเหล็กค่อนข้างซับซ้อน โดยมีปัจจัยหลักก็คือ น้ำและออกซิเจน วิธีการป้องกันเหล็กไม่ให้เกิดสนิมมีอยู่หลายวิธี เช่น การเคลือบผิวเหล็ก เพื่อป้องกันมิให้เนื้อเหล็กสัมผัสกับน้ำและอากาศโดยตรง อาจทำได้หลายวิธี … Read More

1 13 14 15 16 17 18 19